#จ.น่านแถลงข่าวโครงการหอศิลปวัฒนธรรมเมืองน่าน และแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนาตะวันออก

#จ.น่านแถลงข่าวโครงการหอศิลปวัฒนธรรมเมืองน่าน และแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนาตะวันออก


เมื่อวันที่ 7 ตลาคม 2566 เวลา ณ บริเวณช่วงเมืองน่าน(ข่วงน้อย) ตำบลในเวียง อำเภอเมืองนำาน จังหวัดน่าน จัดแถลงข่าว
โครงการหอศิลปวัฒนธรรมเมืองน่าน และแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนาตะวันออก โดยมีนายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์ อธิบดีกรม
โยธาธิการและผังเมือง นายชัยนรงค์ วงศ์ใหญ่ รองผู้ว่าราชการจัหวัดน่าน นายสุรพล เธียรสูตร นายกเทศมนตรีเมืองน่าน และ
พระชยานันทมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน เจ้าอาวาสวัดพระธาตุแช่แห้ง ร่วมแถลง
นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง กล่าวว่า ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงมหาดไทย ให้เป็น
ผู้แทนแถลงข่าว ตามที่กระทรวงมหาดไทย และมูลนิริรักษ์บำน่าน ได้สงนามสัญญาอนุญาตให้ใช้พื้นที่ เพื่อสนับสนุนการดำเนิน
โครงการปรับปรุงศาลากลางจังหวัดน่าน (หลังเก่า) เป็นหอศิลปวัฒนธรรมเมืองน่านและแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนา
ตะวันออก เมื่อ 14 กันยายน 2566 ณ กระทรวงมหาดไทย
การแถลงข่าวในวันนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการรับรู้ของประชาชนในจังหวัดน่าน เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
ดังกล่าว ทั้งนี้ มูลนิธิรักษ์ป่น่านฯ จะเป็นผู้สนับสนุน และให้งบประมาณก่อสร้างอาคารทั้งหมดภายในโครงการ ตลอดจน
งบประมาณด้านบุคลากร ด้านค่าสาธารณูปโภค โดยมีขั้นตอนการดำเนินการต่างๆตามสัญญาให้ใช้พื้นที่ ซึ่งท่านรองผู้ว่า
ราชการจังหวัดน่าน จะได้แถลงในลำดับต่อไป
ด้านนายชัยนรงค์ วงศ์ใหญ่ รองผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน กล่าวว่า ตามมติคณะรัฐมนตรี ปี 2548 ประกาศให้
บริเวณเมืองเก่าน่านเป็นพื้นที่อนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า และกำหนดให้ศาลากลางจังหวัดน่านหลังเก่า เป็นศูนย์เรียนรู้
ศิลปวัฒนธรรม เมื่อปี 2548 จังหวัดน่านได้ย้ายศาลากลางจังหวัดไปยังศูนย์ราชการจังหวัดแห่งใหม่ ทำให้ศาลากลางจังหวัด
หลังเก่าไม่ได้ใช้ประโยชน์จนทุกวันนี้ เนื่องจากเกินกำลัง ทำให้เกิดปัญหาในการดูแลรักษา ไม่มีหน่วยงานใดสามารถที่จะ
พัฒนาพื้นที่ศาลากสางหลังเก่าได้
กระทรวงมหาดไทยมองเห็นศักยภาพและความพร้อมของมูลนิธิรักษ์ป่าน่นฯ จึงเชิญให้มาเป็นผู้สนับสนุน บริหาร
จัดการโครงการ ฯ ที่ผ่านมาได้จัตรับฟังความคิดเห็นของประชาชนจังหวัดน่าน มีประชาชนเข้าร่วม 45.469 คน มีผู้เห็นด้วย
92% ไม่เห็นด้วย 1% ต่อมา เมื่อ 14 มีนาคม 2565 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติรับทราบและเห็นชอบการดำเนินโครงการดังกล่าว
และวันที่ 14 กันยายน 2566 กระทรวงมหาดไทยจึงลงนามสัญญาอนุญาตให้มูลนิธิรักษ์ป่าน่านฯ เป็นผู้สนับสนุนการดำเนิน
โครงการฯ และงบประมาณในการก่อสร้างอาคารใหม่ การรื้อถอน การบริหารจัดการงบบุคลากร ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่าย
หมดที่เกิดขึ้นโดยไม่ใช้งบประมาณของราชการแม้แต่บาทเดียว พื้นที่โครงการประกอบด้วย หอศิลปวัฒนธรรม
ประชุมเอนกประสงค์ อาคารบริการ สวนพฤกษาศาสตร์และลานกิจกรรม ทั้งนี้ จะไม่มีการเก็บค่าใช้บริการ ค่าสถานที่
เข้าร่วมกิจกรรม คำประชุม หรือค่าตอบแทนอื่นๆ จากผู้ใช้บริการใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่มีการนำพื้นที่ทั้งหมดหรือบางส่วนให้บุคคลอื่น
ใช้ประโยชน์ส่วนตน รวมถึงไม่มีการปล่อยเช่าพื้นที่ว่างเปล่า
นอกจากนี้ นายชัยนรงค์ฯ กล่าวย้ำอีกว่า บุคลากรที่ทำงานในโครงการจะเป็นคนน่าน โดยพื้นที่อาคารเป็นพื้นที่ที่คน
เพศ ทุกวัย สามารถใช้ประโยชน์ร่วมกัน “ละโครงการนี้จะเป็นของคนน่านทุกคน เป็นแหล่งเรียนรู้ศิลปะวัฒนธรรมปร
สืบต่อให้ลูกหลาน ส่งเสริมการท่องเที่ยวและการพัฒนาเมืองน่านอย่างยั่งยืนต่อไป
นายพงศ์รัตน์ ภิรมย์รัตน์ อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมืองอธิบายถึงการรื้อถอน และมาตรการการดูแลผลกระทบจากการ
รื้อถอน กระทรวงมหาดไทยได้มอบหมายให้สำนักงานจังหวัดน่าน และสำนักงานโยราการและผังเมืองจังหวัดน่าน
ประสานงานและดำเนินการแทนสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการรื้อถอน การก่อสร้าง ตาม
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ ศ. 2522 พระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รวมทั้งกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง พื้นที่โครงการฯ อยู่ในที่ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียน ที่
นน 405 (บางส่วน) ตำบลในวียง อำภอเมืองน่าน เนื้อที่ประมาณ 9 ไร่ 1งาน 11 ตารางวา สำนักงานโยธาธิการและผังเมือง
จังหวัดนำน ได้สำรวจข้อมูลและจัดทำแบบร่าง พร้อมประมาณราคาคำรื้อถอนเรียบร้อยแล้ว สำหรับวัสดุที่เกิดจากการรื้อถอน
แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 2 ทรัพย์สินที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ อาทิ องค์พญาครุฑ ป้ายศาศาลากลางจังหวัดน่าน แผ่นจารึก ป้าย
ทำเนียบรายชื่อผู้ว่าราชกรจังหวัดน่าน จะทำบัญชีและมีคณะกรรมการร่วมตรวจสอบ เพื่อนำไปจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ ต่อไป 2)
หรัพย์สิน/วัสตุที่ยังนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 3) ทรัพย์สิน/วัสดุ ที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ จะรื้อถอนอาคารศลากลางจังหวัดน่าน
(หลังเก่า) และสิ่งปลูกสร้างเดิมออกทั้งหมด ทั้งที่อยู่เหนือพื้นดินและอยู่ใต้ดิน ซึ่งสอดคล้องกับรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการรับ
ฟังความคิดเห็นประชาชนฯ เมื่อเดือนกันยายน 2565โดยจะรื้อถอนให้แล้วเสร็จภายใน 4 เดือน นับจากวันที่ได้รับอนุญาตให้
เข้าใช้พื้นที่โครงการ
การรื้อถอนโครงสร้างคอนรีตเสริมเหล็ก จะใช้วิธีการ sawcut , chaincut , เครื่องหนีบคอนกรีต (HYDRUALIC
CRUSHER), เครื่องตัดคอนกรีต (WIRE SAW), พร้อมใช้เครน หรือรอก เพื่อพยุง/โยกย้ายวัสดุ เพื่อความปลอดภัย และ
ไปย่อยหรือทำลายภายนอกพื้นที่ โดยไม่ใช้เครื่องสกัดคอนกรีต (BRAKER HAMER)ที่มีเสียงตัง โดยมีมาตรการ
ฝุ่นละอองกระจายออกนอกพื้นที่ จัดให้มีการดูแลรักษาเครื่องมือตรวจวัดเสียงที่เกิดจากการรื้อถอน และก่อสร้างรั้วชั่วคราว
งที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกิน 75 เดซิเบล (เอ) ที่ระยะ 3 เมตร การรื้อถอนต้นไม้เดิมในพื้นที่โครงการจะใช้วิธีล้อมเพื่อ
ออกนอกพื้นที่ชั่วคราว เพื่อนำกลับมาปลูกใหม่ในพื้นที่ และคงรักษาพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 ไว้ ณ ตำแหน่งที่
ประดิษฐานอยู่ในปัจจุบัน โดยจะใช้เวลาก่อร้างแล้วเร็จภายใน 24 เดือน นับจากวันรื้อถอนแล้วเสร็จ ในนามกรมโยธาธิการและ
ผังเมือง ยินดีให้การสนับสนุนและให้คำปรึกษา แนะนำการดำเนินโครงการ ตามอำนาจหน้าที่ต่อไป
ขณะที่นายสุรพล เธียรสูตร นายกเทศมนตรีเมืองน่น ใต้นำเสนอการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ความคิดเห็นและความ
ต้องการของประชาชนจังหวัดน่านต่อโครงการหอศิสปวัฒนธรรมเมืองน่นและแหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมล้านนาตะวันออก
พระชยานันทมุนี รองเจ้าคณะจังหวัดน่าน เจ้าอาวาสวัดพระธาตุแช่แห้ง ได้เจริญพรถึงข้อมูล ความคิดเห็นของภาค
ประชาชนที่มีต่อโครงการฯ ดังกล่าวว่า มีขั้นตอนการดำเนินการอย่างถูกต้อง เป็นความร่วมมือร่วมใจระหว่างภาครัฐและภาค
ประชาชน ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้ขอให้มูลนิธิรักษ์ป่าน่านเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งมูลนิธิฯ มีความพร้อม มีศักยภาพ และสามารถ
ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กระทรวงมหาดไทยได้กำหนคไว้ สถานที่แห่งนี้จะเป็นศูนย์กลางที่สำคัญแห่งหนึ่งของ
จังหวัดน่าน จะเป็นสถานที่ศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งความหลากหลายทางศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม และส่งเสริม
การเรียนรู้ในสรพวิซาการต่างๆ ทั้งพุทธศาสตร์ สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ รัฐศสตร์ เป็นตัน จึงขออนุโมทนา
ในความตั้งใจดำเนินการของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน อันจะเป็นประโยชน์อย่างแท้จริงต่อจังหวัดน่านสืบไป

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *